10/30/2555

ขวัญชัยระบุนายกฯไม่ต้องแจงจตุพรพลาดรมต.

ขวัญชัยระบุนายกฯไม่ต้องแจงจตุพรพลาดรมต. 


นายขวัญชัย สาราคำ (ขวัญชัย ไพรพนา) sbobet ประธานชมรมคนรักอุดร กล่าวถึง แรงกระเพื่อมของคนเสื้อแดงบางกลุ่ม ที่เรียกร้องให้ นายกรัฐมตรี ชี้แจง กรณี นายจตุพร พรหมพันธุ์  แกนนำ นปช. ไม่ได้ตำแหน่งรัฐมนตรี ว่า ไม่ต้องมาชี้แจง ตนบอกคนเสื้อแดงว่า เสียใจได้ แต่อย่าเสียสติ ถ้าเราเสียสติ มันจะเข้าทางโจร วันนี้ เรามาต่อสู้เรียกร้องประชาธิปไตย เราไม่ใช่มาต่อสู้เรียกร้องตำแหน่งหน้าที่นอกจากนี้ นายขวัญชัย ยังกล่าววิจารณ์รัฐบาลว่า ให้สามัคคีรีบนำ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี กลับประเทศไทย เพราะถ้าทำไม่ได้ในสมัยหน้า sbo คนรักอุดร จะไม่ช่วย ต่อสู้มา 6 ปี ก็เพื่อให้ พ.ต.ท.ทักษิณ กลับบ้าน ทั้งนี้ ประธานชมรมคนรักอุดร ยังฝากถามถึงรัฐบาลว่า กลัวอะไรถึงไม่ยอมแก้รัฐธรรมนูญ พร้อมกับย้ำว่า อำมาตย์ ไม่ความจริงใจให้

10/09/2555

หุ้นกลุ่มไฟแนนซ์หนุนฮั่งเส็งพุ่งขึ้นเช้านี้

รอยเตอร์รายงานว่า ตลาดหุ้นฮ่องกงพุ่งขึ้นในช่วงเช้าวันนี้ โดย ณ เวลา 9.07 น.ตามเวลาไทย ดัชนีฮั่งเส็งพุ่งขึ้น 255.30 จุด หรือ 1.23% สู่ระดับ 21,079.86 โดยการพุ่งขึ้นของหุ้นกลุ่มการเงินช่วยหนุนดัชนีฮั่งเส็งฟื้นตัวขึ้น หลังจากร่วงลงเมื่อวานนี้

http://www.sboasia99.com/

10/06/2555

Gadgets น่าฟาด #10: Samsung Galaxy Note 2

เทปที่ 10 ....ซะแล้วเหรอนี่!! (ไวหยั่งกะหนังการ์ตูน) พบกับมือถือยอดฮิตคนแห่แหนเข้าไปฟาดกันกระหน่ำในงาน Thailand Mobile Expo 2012 นั่นก็คือ...."Samsung Galaxy Note 2" นะฮ๊าฟ!! ซึ่งมาพร้อมกับปากกา "S Pen" ที่ไม่ได้มีดีแค่จดๆ เขียนๆ อย่างเดียว แต่จะช่วยให้ Life Style การใช้มือถือ sbo Smart Phone ของคุณง่ายขึ้นได้เยอะอีกด้วย (ดุจดั่งคฑาวิเศษของเซเลอร์มูนทีเดียวเชียว 55) "ป๋าเอก" และ "น้องแป้ง" ก็จะมาการันตีความน่าฟาดกันอีกเช่นเคย รีบคลิกเข้าไปดู sbobet แล้วก็รีบไปฟาดกันโดยด่วนจี๋เลยนะจ๊ะพวกเธอว์ ^ ^

http://www.youtube.com/watch?v=sTRKRSfO_uc&feature=player_embedded

10/03/2555

"Critical but stable" world nods at more risk

LONDON (Reuters) - Like a patient in a critical but stable condition, the world economy may be in for years of low, spluttering growth and yet a lack of volatility may be acting as a green light for investors. The paralyzing effect of economic uncertainty on investment, business and household planning has been stark over the past five years of credit crisis and the deep and synchronized global recession of 2008/2009 is seared into many minds. Extraordinary monetary and fiscal policy stimuli around the globe look set to continue for the foreseeable future. Yet investors' fear of "tail risks" - or low probability but outsize shocks - still abounds. Almost three quarters of the 300 U.S. and European pension funds, asset managers, insurance funds and private banks surveyed by the Economist Intelligence Unit for State Street Global Advisors this summer said a significant tail risk event was either likely or highly likely in the next 12 months. Euro zone break up and global recession topped the list of potential triggers, unsurprisingly. But does this inate fear match up to reality? Does uncertainty always lead to higher volatility? JPMorgan's global strategist sbobet Jan Loeys pointed out this week that after spiking higher in 2008/2009, global economic volatility has actually collapsed again to its lowest levels since the 1970s - and this is significant for investors' willingness to take on risk. Global growth over the past three years is the weakest of any post-war recovery, he said, but 42 years of data shows rolling 8-quarter volatility in world gross domestic product (GDP) is back down at record lows and matches the trough of the "Great Moderation" of 2004-2005. That drop in underlying GDP volatility goes some way to explaining a drop in the volatility of corporate earnings and earnings expectations and, in turn, the somewhat puzzling drop in implied volatility gauges on U.S. and European equity markets in the face of widespread investor tension. At about 16 percent, Wall St's VIX - the "Fear Index" - is almost half what it was last December at just a whisker above levels last seen before the crunch of 2007. Given that most investment models use volatility as a proxy for future risk, these signals are urging many investors to snaffle away the higher yields in riskier markets. The paying down of excessive pre-crisis debts, or deleveraging, is subduing not only global economic and earnings growth but also market volatility, JPMorgan's Loeys said. "This can coexist with the uncertainty about the future. The uncertainty keeps risk premia high and this is where your opportunity is," he added, favoring higher-yielding assets such as corporate bonds and the junk bond sector in particular. VOLATILITY AND RISK There are other explanations for the counter-intuitive drop in market volatility this year, such as the fall in trading volumes due to the swamping effect of central bank policy and investors' reluctance to transact on days where there is no macro driving factor. Other analysts simply view extreme lows in volatility as a reason to brace for a correction in the underlying market trend. But if the sheer scale of policy intervention is at least partly responsible for sapping market volatility as well as preventing big lurches in GDP, then this is not going away soon. Tail risks will always exist of course, it's just that by definition the most threatening ones are unforeseen and the ones already indentified probably less disruptive as a result. As Kleinwort Benson chief investment officer Mouhammed Choukeir commented in the EIU/State Street survey: "Europe is the current eye of the storm, but it is not really a tail risk now as it is known. The United States or Japan defaulting would be, and Japan has a huge burden of debt." A bigger problem is that years of low global growth into giant headwinds of demographic change, resource scarcity and climate change throw up more intangibles than even a mega sovereign default. At least you can model the latter. High youth unemployment in the Western world, rising dependency ratios in aging populations and dashed aspirations of nascent middle classes in the developing world all throw up social and political risks that are almost impossible to measure. Activist government policy can smother short-term volatility to good effect for a period but perhaps cautious investors are sbo more mindful of these seismic risks longer term. (Editing by Ruth Pitchford)

10/02/2555

“นอร์เวย์”วอนรัฐยืดเช่าที่แหลมฉบัง

นอร์เวย์ ปลื้มใช้ไทยเป็นฐานสร้างแท่นขุดเจาะน้ำมันและก๊าซฯ ใหญ่สุดในประเทศสำเร็จ สร้างรายได้ให้แรงงานไทย 2,000 ล้านบาท เผยเหตุเลือกไทยจากค่าแรงงานถูกกว่านอร์เวย์ 8 เท่า เตรียมยื่นบีโอไอขยายระยะเวลาพื้นที่เช่าท่าเรือแหลมฉบังระยะยาว ก่อนหมดสัญญาปี 2560 ระบุหากไม่เสร็จ เตรียมย้ายฐานการผลิตไปต่างประเทศแทน นายยาน สโกจเสจ ประธานและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ไอเบล เอเอส ประเทศนอร์เวย์ จำกัด เปิดเผยว่า บริษัท ไอเบลฯ ประสบความสำเร็จในการสร้างแท่นขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติขนาดใหญ่สุดในเมืองไทย มีน้ำหนักถึง 6,000 ตัน มีกำลังการผลิตน้ำมันได้ 12,000 บาร์เรลต่อวัน และก๊าซธรรมชาติ 8.8 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อชั่วโมง ใช้เงินลงทุน 20,000 ล้านบาท โดยวัสดุทั้งหมดนำเข้าจากต่างประเทศ แต่ใช้แรงงานไทยประกอบแท่นขุดเจาะกว่า 2,000 คน คิดเป็นมูลค่ากว่า 2,000 ล้านบาท ทั้งนี้ บริษัท ไอเบลฯ ได้รับการว่าจ้างจากบริษัท สแตทออยล์ จำกัด ซึ่งเป็นกลุ่มธุรกิจด้านพลังงานขนาดใหญ่ และบริหารงานโดยรัฐบาลนอร์เวย์ ได้สั่งผลิตแท่นขุดเจาะ ขณะนี้ได้สร้างเสร็จและได้เริ่มขนลงเรือในวันที่ 1 ต.ค.2555 เพื่อเคลื่อนย้ายไปติดตั้งที่ทะเลเหนือของประเทศนอร์เวย์ สำหรับขุดเจาะน้ำมันและก๊าซฯ ต่อไป อย่างไรก็ตาม ที่บริษัทเลือกไทยเป็นฐานการผลิตใหญ่เป็นอันดับ 2 รองจากฐานการผลิตที่เมืองเฮอเกซุนด์ ประเทศนอร์เวย์ เพราะมีความเหมาะสมของพื้นที่ซึ่งตั้งอยู่ที่ท่าเรือแหลมฉบัง จ.ระยอง มีท่าเรือขนส่งขนาดใหญ่ และมีบุคลากรมีคุณภาพทั้งระดับผู้บริหารและแรงงาน และที่สำคัญค่าแรงงานถูกกว่าที่นอร์เวย์ถึง 8 เท่า หรือเฉลี่ยประมาณ 550-600 บาทต่อวัน นายจิม ไรอัน กรรมการผู้จัดการบริษัท sbobet ไอเบล (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวว่า ปัจจุบันตลาดแท่นขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติของโลกมีการเติบโตสูงต่อเนื่อง ซึ่งคาดว่าจะเติบโตไปอีก 8 ปีจากนี้ เนื่องจากความต้องการก๊าซฯ และน้ำมันของโลกยังสูง และบริษัท ไอเบลฯ ยังต้องการตั้งฐานการผลิตในไทยต่อไป แต่ติดปัญหากรณีการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) อนุญาตให้เช่าพื้นที่ได้แค่ 5-6 ปี ซึ่งจะหมดสัญญาเช่าในปี 2560 โดย กนอ.ต้องการนำพื้นที่ไปขยายท่าเรือจึงไม่อนุญาตให้เช่าเป็นเวลานาน “บริษัทขอให้ภาครัฐขยายระยะเวลาการเช่าพื้นที่สำหรับการลงทุนระยะยาวขึ้นเป็น 20-25 ปี จากเดิมที่ให้แค่ 5-6 ปี เพื่อให้นักลงทุนสามารถวางแผนการลงทุนระยะยาวได้ และบริษัท ไอเบลฯ พร้อมนำเงินมาลงทุนรับจ้างสร้างแท่นขุดเจาะน้ำมันและก๊าซฯ ระยะยาวด้วยเช่นกัน อย่างไรก็ตาม คาดว่าภายใน 6 เดือนน่าจะรู้ผล และหากไม่สามารถขยายระยะเวลาการเช่าพื้นที่ได้ ทางบริษัท ไอเบลฯ อาจต้องเข้าไปบุกเบิกที่ตั้งฐานการผลิตที่จังหวัดระยอง ซึ่งเป็นพื้นที่ทะเลน้ำลึกเหมาะแก่การลงทุน แต่ปัจจุบันยังไม่มีโครงสร้างพื้นที่เพียงพอ ดังนั้นจึงต้องมองฐานการผลิตในประเทศอื่นควบคู่ไปด้วย